Translate

วันอาทิตย์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2557

เตรียมตัวสอบ


การเตรียมตัวสอบเข้าคณะสถาปัตยกรรม

1.การสอบเข้าคณะสถาปัตยกรรม                                                                               
1.1.สอบตรง  
1.วิชาความถนัดทางสถาปัตยกรรม
1.ปรนัย  ( วัดทักษะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทางสถาปัตยกรรม เช่น รูปทรง )
2.Sketch Design ตามโจทย์ที่กำหนดให้ในแต่ปี
2.สอบวิชาการ
1.ประกอบด้วยวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ฟิสิกส์ เคมี ไทย สังคม

1.2.แอดมิชชั่นกลาง

GAT/PAT 

1.สอบ O-net
1.GAT
ความถนัดทั่วไป                                                  (GAT : General Aptitude Test)
การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ แยกได้ 2 ส่วน คือ
1. ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และแก้โจทย์ปัญหา 50 %
2. ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ 50 %
2.PAT
ความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (PAT   Professional and Academic Aptitude Test)                                   

คือ ความรู้ที่เป็นพื้นฐานที่จะเรียนต่อในวิชาชีพนั้น ๆ กับศักยภาพที่จะเรียนในวิชาชีพนั้น ๆให้ประสบความสำเร็จ
1. PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
2. PAT 2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
3. PAT 3 ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
*4. PAT 4 ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
5. PAT 5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
6. PAT 6 ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์
7. PAT 7 ความถนัดทางภาษาต่างประเทศ
2.ลักษณะข้อสอบ
1เนื้อหา
- การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์และการแก้โจทย์ ปัญหา(ทาง คณิตศาสตร์) 50%
- การสื่อสารด้วยภาษา อังกฤษ 50%
Sketch Design ตามโจทย์ที่กำหนดให้ในแต่ปี
เหมือนสอบตรง

2. ลักษณะข้อสอบ GAT จะเป็นปรนัย และอัตนัย
- คะแนนเต็ม 200 คะแนน เวลาสอบ 2 ชั่วโมง
- ข้อสอบ เน้น Content Free และ Fair
- เน้นความซับ ซ้อน (Complexity) มากกว่า ความยาก
- มีการออกข้อสอบเก็บไว้เป็นคลังข้อ สอบ


3. สอบปีละหลายครั้ง
- คะแนนใช้ได้ 2 ปี เลือกใช้คะแนนที่ดีที่สุด (จะสอบ ตั้งแต่ม. 4 ก็ได้)


1.2.การฝึกปฏิบัติสำหรับเตรียมตัวสอบ
วิชาความถนัดสถาปัตย์ เป็นการสอบวัดความรู้พื้นฐานการออกแบบ การนำเสนอ
ผลงาน สามารถถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ได้ ซึ่งสามารถใช้กับการ
สอบคณะสถาปัตยกรรมทุกสาขา โดยเฉพาะการสอบตรง และ  แอดมิชชั่นกลาง
จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังตาราง
วิชาความถนัดสถาปัตย์ 
ปรนัย
Sketch Design
1.วัดทักษะความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทางสถาปัตยกรรม เช่น รูปทรง  โครงสร้าง
1.ปฏิบัติการเขียนทัศนียภาพ
2.การออกแบบ 

โดยจะมีโจทย์เป็นโครงร่างมาให้ และให้ถ่ายทอดจิตนาการออกมา โดยใช้ทฤษฎีความรู้พื้นฐานทางสถาปัตยกรรม

ลักษณะของผู้ที่เรียนคณะสถาปัตยกรรม นอกจากชอบออกแบบวาดเขียนแล้ว 
ควรจะทราบว่า สถาปัตยกรรม แบ่งออกเป็น 4 สาขาดังนี้ สรุปได้ดังตาราง

1.สถาปัตยกรรมหลัก (architecture)
เกี่ยวกับสิ่งก่อสร้าง บ้าน อาคาร ที่อยู่อาศัยประเภทต่างๆ
2.ภูมิสถาปัตยกรรม (landscape architecture) 
การออกแบบวางแผน การอนุรักษ์และจัดการพื้นที่ใช้สอยภายนอกอาคาร
3.สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ (interior architecture) 
การใช้งานของมนุษย์ ที่เป็นผู้ใช้สอยพื้นที่ว่างภายในอาคาร (space) มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
4.สถาปัตยกรรมผังเมือง (urban architecture) 
ออกแบบวางผังเพื่อสร้างสรรค์องค์ประกอบและสภาพแวดล้อมทางกายภาพของเมือง ชุมชนเมืองชุมชน
          บางมหาวิทยาลัยอาจมีสาขาเพิ่มเติม เช่น สถาปัตยกรรมไทย ออกแบบอุตสาหกรรม
เทคโนโลยีทางอาคาร ภาพยนตร์และวีดีโอ การถ่ายภาพ เป็นต้น
ถึงแม้ว่าขั้นตอนการสอบเข้าจะเหมือนกัน

แต่ลักษณะรูปแบบการเรียนบ้างอย่างมีความแตกต่างกัน  
ฉะนั้นผู้เรียนควรจะศึกษาข้อมูลและรายละเอียด

เกี่ยวกับการเรียนการสอนในแต่ละสาขาให้ชัดเจน จะทำให้ไม่เกิดความท้อแท้
ขณะที่กำลังศึกษาต่อในระดับชั้นปีที่ ถ้ามีการศึกษาเตรียมตัวมาจะเกิด
ความสนุกในการเรียนในระดับชั้นต่อๆไป
ได้อย่างราบรื่น ควรจะเตรียมตัวตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 4-5-6 
ม.4
ม.5
ม.6
1.ศึกษาข้อมูลก่อนว่าแต่ละสาขาเรียนเกี่ยวกับอะไร ถ้าไม่ชอบยังสามารถเปลี่ยนใจทัน 
2.ตัดสินใจหาที่เรียนความถนัด
1.ฝึกทำโจทย์ ข้อสอบเก่าๆ
2.ฝึกทำ Sketch design ให้เป็นงานอดิเรก เพื่อเวลาทำข้อสอบจริงจะได้คล่องแคล่ว รวดเร็ว
1.นอกจากฝึกฝนความถนัดแล้ว อย่าลืม ฝึกฝน หลักวิชาการ ที่ใช้ในการสอบคัดเลือกด้วย 



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น